วันพุธที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2555

บทที่ 1 ความหมายการผลิตและการดำเนินงาน


บทที่  1

 ความหมายการผลิตและการดำเนินงานความหมายของการจัดการและการดำเนินงานประวัติในส่วนของการผลิตต้นทุนมี  3  ประเภทหลัก 10  ประการสำหรับการจัดการผลิตและการดำเนินการ 


              1. ความหมายของการจัดการผลิตและการดำเนินงาน       
              2.  ประวัติของการจัดการการผลิตและการดำเนินงาน
              3.  เหตุผลในการศึกษาของการจัดการการผลิตและการดำเนินงาน
การผลิต  หมายถึง  การสร้างสินค้าและบริการ
การจัดการในการดำเนินงาน (Operation Management)  หมายถึง  กระบวนการในการสร้าง
              สินค้าและบริการโดยการพิจารณาตั้งแต่กระบวนการของปัจจัยการผลิต(INPUT) จนกระทั่งแปรสภาพกลายเป็นผลผลิต  (OUT PUT)
              Eli Whitney
-      เกิด 1765  ตาย 1825
-      ในปี 1798  รับจ้างรัฐบาลในการผลิตปืนจำนวน  10,000  กระบอก
-      การผลิตชิ้นส่วนให้ได้มาตรฐาน 
              เดิมการผลิตเป็นแบบตามคำสั่ง  ทำเอง  3  ขั้นตอน  แต่ Eli ใช้การผลิตให้ได้มากที่สุด  เช่น  ถ้าพัดลมแตก  ปัจจุบันมีอะไหล่  อุปกรณ์ออกมาขายแล้ว  ไม่ต้องเปลี่ยนใหม่
  Frederick  W Tayler
-      เกิด  1856  ตาย  1915
-      บิดาแห่งการจัดการทางวิทยาศาสตร์
ในปี  1881  เป็นหัวหน้าวิศวกร  ทำการศึกษาวิธีการในการทำงานให้ประสบความสำเร็จโดยใช้
     1.  การจัดคนให้เหมาะสมกับคนงาน  Put the ringh  man  in the right job จัดคนให้เหมาะ
สมกันงานแล้วทำการเทรนงาน  ฝึกอบรมให้  เน้นคนกับเครื่องจักร
                   2.  การฝึกอบรม
                   3.  การจัดหาวิธีการทำงานและเครื่องมือที่เหมาะสม
                   4.  การสร้างแรงจูงใจ

              Henry  Ford  (เจ้าของยี่ห้อรถยนต์  ฟอร์ด
-      เกิด 1863  ตาย  1947
-      In 1903 Created Ford  motor  computer
-      In 1913  Find used mamy assembly  Ime to make Model T
-      Paid  worker very well for  1911
-      ใช้พนักงานคนเดิมในการผลิตรถยนต์
-      กำหนดทักษะของคนในการทำงานซ้ำ ๆ เพื่อให้เกิดทักษะความชำนาญทำให้เกิดทักษะ ความชำนาญ ก่อให้เกิดต้นทุนต่ำ
           W. Edwards Demming
              - Born  1900  Died  1993
              -  Engieer  &  Physieist
              -  Credited with teaching  Japan  quality  control  methods in post Wwa
              -  Used  Statisties to analyze process
              -  His  methods  involue  workers in decisions

เหตุการณ์สำคัญของ OM
              -  การแบ่งงานกันทำ  Division of  laver  (Smith  1776) เริ่มมี  4  ขั้นตอน จัดเป็นกลุ่มให้ทำงานเดิมซ้ำ ๆ  ให้เกิดทักษะ
              -  ชิ้นส่วนมาตรฐาน  Standardized parts (Whitney,1800)  เริ่มซื้อน๊อต ผลิตรถยนต์ 1 คัน การมีชิ้นส่วนมาตรฐาน ทำให้ต้นทุนต่ำ
              -  การจัดการวิทยาศาสตร์ Scientific Management (Taylor 1881)    คนเป็นปัจจัยการผลิตมีความสำคัญมากที่สุด
              -  สายการประกอบชิ้นส่วน  Ordinated assembly  line (Ford 1913)
              -  แผนภูมิ       Gantt Gatt Charts (Gantt 1916)
              -  การศึกษาการเคลื่อนไหว  Motion  study (The Gilbroths 1982)
              -  การควบคุมคุณภาพ  Quality Control (Demming)  เพราะตัวปกติในการทำการเข้าใจในเรื่องควบคุมเหมาะกับญี่ปุ่น
              กำไรเกิดจาก  TR - Tc
              TR     =   มาจาก  P*Q
              TC          =  เป็นต้นทุนผลิตที่มากที่สุด ซึ่งเป็นหน้าที่ของฝ่ายการผลิต


              1.  ต้นทุนคงที่
              2.  ต้นทุนผันแปร
              3.  ต้นทุนค่าเสียโอกาส

หน้าที่ของผู้จัดการฝ่ายการผลิตอละการดำเนินการ (Manangement)
              -  การวางแผน (Plan)                      -  การจัดโครงสร้าง (Organize)
              -  การสรรหา  (Staff)                       -  การชักนำ (Lead)
              -  การควบคุม  (Control)
การวางแผนการผลิตจะเริ่มต้นจากการหาข้อมูลแล้วใช้ข้อมูล  3+10  แต่ถ้าหากแผนไม่สอดคล้อง
ให้ปรับ     1.  การวางแผน
              2.  การปฏิบัติ
              3.  การประเมิน
              1.  การจัดการคุณภาพ      (Managing  Quality) ผู้กำหนดคุณภาพคือผู้ผลิต  กำหนดจากวัตถุดิบ กับผู้บริโภค  ใช้ความพึงพอใจของลูกค้า
              2.  การออกแบบสินค้าและบริการ  (Design  of goods and  Service)  เช่นในสมัยก่อนที่มี
การผลิตกระจกที่ไม่แข็งแรง  เวลาที่อะไรหล่นก็แตก  แต่ปัจจุบันมีการออกแบบสินค้าที่มีความทนทานมากขึ้น
              3.  การออกแบบกระบวนการและกำลังการผลิต  Process  and  capacity  design  คือการผลิต
เท่าไหร่จึงจะดี  ให้เกิดจุดคุ้มทุน  จุดคุ้มทุนหาได้โดย    
              TFC  =  ต้นทุนคงที่            P  =   ราคาขาย          C=  ต้นทุนต่อหน่วย
              4.  กลยุทธ์ทำเลที่ตั้ง   Lacation  Strategies
              5.  กลยุทธ์การออกแบบผังโรงงาน    Layout  Strategies
              6.  การออกแบบงานทรัพยากรมนุษย์  Human resoures  and  job  Design
              7.  การจัดการเครือข่ายปัจจัยการผลิต  Supply Chain  management
              8.  การจัดการสินค้าคงคลัง   Inventory  management
              9.  การกำหนดตารางการผลิต  Scheduling
              10.การบำรุงรักษา    Maintenance

สินค้า
บริการ
สินค้าขายซ้ำได้   
บริการขายซ้ำได้ยาก  เช่นร้านตัดผม
สินค้าเก็บรักษาได้    
บริการยากต่อการเก็บรักษา
สินค้าสามารถวัดได้ 
บริการยากต่อการวัด
สินค้าผลิตไว้ขายได้ 
บริการยากต่อการผลิตไว้ขาย
สินค้าขนส่งได้    
บริการขนส่งไม่ได้
สินค้าต้องมีสถานที่ในการผลิต
บริการอาจมีสถานที่ในการผลิตหรือไม่ก็ได้
สินค้าง่ายต่อการผลิตแบบอัตโนมัติ                            
บริการยากต่อการผลิตแบบอัตโนมัติ
สินค้ามีรายได้จากสิ่งทีมีตัวตน  จับต้องได้                   
บริการมีรายได้จากสิ่งที่ไม่มีตัวตนจับต้องไม่ได้

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น